ภาษาโคบอลได้ถือกำเนิดขึ้นเมื่อ
ในการเขียนโปรแกรมภาษาโคบอลเราจ
1. ส่วนประกอบของโปรแกรม ภาษาโคบอล
2. สัญลักษณ์ ที่ใช้ในภาษาโคบอล
3. ประเภทของคำ
4. ตัวแปร และ ค่าคงที่
5. แบบฟอร์ม สำหรับการเขียนโปรแกรม COBOL (COBOL CODING FORM)
6. การใช้เครื่องหมายวรรคตอน
ส่วนประกอบของโปรแกรม
IDENTIFICATION DIVISION
ชื่อโปรแกรม
ชื่อผู้เขียนโปรแกรม
วันที่เขียนโปรแกรม
ENVIRONMENT DIVISION
รายละเอียดของตัวเครื่อง(CONFIG
รายละเอียดสิ่งที่ใช้ในการบันทึ
DATA DIVISION
รายละเอียดของแฟ้มข้อมูล(FILE SECTION)
รายละเอียดของข้อมูลอื่น ๆ(WORKING-STORAGE SECTION)
รายละเอียดของข้อมูลที่รับมาจาก
รายละเอียดของข้อมูลที่ให้แสดงบ
PROCEDURE DIVISION
PARAGRAPH 1
PARAGRAPH 2
PARAGRAPH 3-------[STATEMENT I;I' = 1(N)1
ไดอะแกรมแสดง โครงสร้างโปรแกรมภาษาโคบอล จากไดอะแกรม ที่แสดงโครงสร้างของโปรแกรมภาษา
ในแต่ละ Division มีชื่อดังต่อไปนี้
IDENTIFICATION DIVISION.
ENVIRONMENT DIVISION.
DATA DIVISION.
PROCEDURE DIVISION.
IDENTIFICATION DIVISION เป็น Division หรือส่วนที่ใช้ในการแสดงรายละเอ
ENVIRONMENT DIVISION เป็น Division หรือส่วนที่ใช้ในการแสดงรายละเอ
DATA DIVISION เป็น Division หรือส่วนที่ใช้ในการแสดงรายละเอ
PROCEDURE DIVISION เป็น Division หรือส่วนที่ใช้ลำดับขั้นตอนของก
นอกจากภาษาโคบอลได้ถูกจัดแบ่งออ
นอกจากนี้ภายในแต่ละ Section จะมี Paragraph แตกย่อยลงไปอีก ซึ่ง Paragraph เป็นส่วนประกอบภายใน Section ในทุก Section และภายใน Section จะต้องมี Paragraph อย่างน้อย 1 Paragraph แต่ถ้าหากว่าภายใน Division ใดไม่ได้แบ่งส่วนประกอบออกเป็น Section ให้ถือว่า Paragraph นั้นเป็นส่วนประกอบโดยตรงของภาย
Sentence เป็นรูปของประโยคภายในของถาษาโค
Statement คือกลุ่มของตัวเลข กลุ่มของตัวอักษร และรวมถึงสัญลักษณ์พิเศษต่าง ๆ ซึ่งนำมาประกอบกันให้ได้ความหมา
Clause คือกลุ่มของ Characters (อักขระ) และ Words เพื่อใช้สำหรับอธิบายถึง Entry ภายในโปรแกรมนั้น ๆ
Word คือกลุ่มของ Characters ซึ่งจะต้องมีอย่างน้อย 1 ตัวอักขระขึ้นไป ซึ่งโครงสร้างของ Word ได้อธิบายไว้แล้วข้างต้น
Character ตัวอักขระ เป็นหน่วยที่เล็กที่สุดในโปรแกร
สัญลักษณ์ในภาษา COBOL (มี 51 ตัว)
สัญลักษณ์ในภาษา COBOL (มี 51 ตัว)
Character (อักขระ) หมายถึง ตัวเลขและเครื่องหมายต่าง ๆ ที่เครื่องคอมพิวเตอร์รับได้ในร
ชุดอักษร(Alphabetic) "A...Z"
ชุดตัวเลข(Numeric) "0..9"
ชุดสัญลักษณ์พิเศษ(Special Character){+ - * / . ** $ * >< = ( ) " ' ; _ }
ประเภทของคำ (Types Of Words)
คำ เกิอขึ้นจากการผสมระหว่างตัวอัก
3.1 คำสงวน (Reserved Word) คำสงวนไว้ใช้ในกรณี ๆ ไปโดยเฉพาะ ไม่สามารถนำคำสงวนไปใช้ในหน้าที
Key word คือคำที่เราต้องเขียนเสมอ หรือ เป็นคำที่ตัว Compiler Cobol รู้จัก ได้แก่ Read , Into, End
Option Word จะใช้ หรือ ไม่ใช้ก็ได้ เขียนแทนด้วยตัวอักษรตัวพิมพ์ให
Connective Word เพื่อขยายใจความประโยคหรือเชื่อ
3.2 คำที่ไม่ใช่คำสงวน หมายถึงคำอื่น ๆ ซึ่งผู้เขียนโปรแกรม ตั้งชื่อขึ้นเองตามกฏเกณฑ์การตั
Data Name ใช้อ้างอิงถึงข้อมูล หรือตัวแปร
Condition Name ชื่อข้อมูลที่ใช้ในการสร้างเงื่
Paragraph Name หมายถึง ชื่อหัวข้อของชุดคำสั่งที่ปรากฏ
3.3 Special Name ชื่อพิเศษต้องอยู่ในพารากราฟทึ่
ตัวแปร(Variable) และ ค่าคงที่ (Literal)
4.1 ตัวแปร หมายถึง ข้อมูลที่มีการเปลี่ยนแปลงค่อยู
ตัวแปรชนิดตัวเลข (Numeric variable) ประกอบไปด้วยตัวเลข 0 - 9 สามารถนำไปคำนวณได้
ตัวแปรชนิดอักขระ (Alphabetic variable) ประกอบไปด้วยตัวอักษร A..Z และ Blank Or Space และ Hyphen (-)
ตัวแปรชนิดที่เป็นทั้งตัวเลขและ
4.2 ค่าคงที่ (Literal)ค่าคงที่เป็นตัวเลข(Nu
แบบฟอร์ม ของกระดาษเขียนโปรแกรม
ในการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาใด ๆ ก็ตาม จำเป็นต้องเขียนลงในกระดาษ ตามแบบฟอร์มซึ่งแต่ละภาษากำหนดเ
1. System ให้ใส่รายละเอียดของระบบที่ใช้ใ
2. Program ให้ใส่ชื่อโปรแกรม หรืออาจจะเป็นชื่อของโปรแกรมย่อ
3. Programmer ใส่ชื่อโปรแกรมเมอร์หรือชื่อของ
4. Date ใส่วัน เดือน ปี ที่เขียนโปรแกรม
5. Page of ให้ใส่ตัวเลขบอกจำนวนหน้า จำนวนตัวเลขหลัง OF หมายถึงจำนวน Coding Sheet ทั้งหมดที่ใช้เขียนโปรแกรมนี้ และตัวเลขหลัง Page หมายถึง เลขบอกหน้าของ Coding Sheet
การใช้เครื่องหมายวรรคตอน(Punct
จุดประสงค์ ของการใช้เครื่องหมายวรรคตอนเพื
ชุดคำสั่งภาษาโคบอล
เป็นภาษาที่นิยมใช้กันมากในทางธ
การเขียนภาษาโคบอลจะแบ่งออกเป็น
๑. ส่วนกำหนดลักษณะ (identification division) เป็นส่วนที่บอกชื่อผู้เขียน และวันที่เขียน
๒. ส่วนบอกลักษณะเครื่อง (environment division) เป็นส่วนที่บอกว่าจะใช้เครื่องอ
๓. ส่วนบอกลักษณะข้อมูล (data division)เป็นส่วนที่บอกว่าการจ
๔. ส่วนบอกการทำงาน (procedure division)เป็นส่วนที่เขียนคำสั่
จากตัวอย่างชุดคำสั่งภาษาต่างๆ จะเห็นได้ว่าภาษาคอมพิวเตอร์ได้
แท้ที่จริงแล้ว ภาษาของคอมพิวเตอร์มีเป็นจำนวนม
ผู้ที่มีความเชี่ยวชาญทางภาษาแอ
ดังนั้น นอกจากมนุษย์จะสร้างระบบเครื่อง
ตัวอย่างการเขียนโปรแกรมด้วยภาษ
IF SALES-AMOUNT IS GREATER THAN SALES-QUOTA
COMPUTE COMMISSION = MAX-RATE * SALES - AMOUNT
ELSE
COMPUTE COMMISSION = MIN-RATE * SALES - AMOUNT